แนวปฏิบัติที่ดี : การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย

การที่ให้นักวิจัยมาทำสัญญาที่ สวพ. นั้น เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำสัญญาฯ    ทั้งโครงการ 79 % และประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 82 % ต่อ 1 โครงการ เพราะ สวพ. เป็นหน่วยงานตรงในการทำสัญญาฯ เมื่อมาทำสัญญาฯที่ สวพ. นักวิจัยจะเป็นผู้ทำสัญญาฯ เอง และเจ้าหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบ นักวิจัยสามารถสอบถามปัญหา และแก้ไขปัญหาได้ทันที จึงทำให้ลดการผิดพลาดของเนื้อหาในสัญญาฯ (ลดข้อผิดพลาดลง 64 %) และลดระยะเวลาในการแก้ไข (ลดระยะเวลาลง 372 ชั่วโมง) และการสูญหายของการส่งสัญญาฯ แบบเดิม ลดภาระงานซ้ำซ้อนในการตรวจสอบ การรวบรวม และจัดส่งมายัง สวพ. จึงทำให้ได้ผลดีแก่ สวพ. นักวิจัย และหน่วยงานที่รับทุน

แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_001 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_002 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_003 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_004 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_005 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_006 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_007 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_008 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_009 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_010 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_011 แนวปฏิบัติที่ดี-การพัฒนากระบวนการทำสัญญารับทุนอุดหนุนวิจัย_012